

ความพอดี มีอยู่จริง
เมื่อผ่านไปสักพักหนึ่งเราก็จะพบว่า ความพอดี ความลงตัว เป็นอะไรที่หลายคนอยากได้มากกว่าแต่ไม่รู้จะต้องทำยังไง เราถึงจะพอดีลงตัวในชีวิตตัวเอง
เมื่อผ่านไปสักพักหนึ่งเราก็จะพบว่า ความพอดี ความลงตัว เป็นอะไรที่หลายคนอยากได้มากกว่าแต่ไม่รู้จะต้องทำยังไง เราถึงจะพอดีลงตัวในชีวิตตัวเอง
ครูสุข เป็นครูอีกหนึ่งท่านที่หลายคนเฝ้ารออยากเรียนด้วย เราอาจเคยได้เห็นภาพครูสุขกับการฝึกออกกำลังกายหรือการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ
นอกจากกล้ามเนื้อหลังซึ่งเป็นกล้ามเนื้อหลักในการทำท่าแอ่นหลังหรือ Backbend แล้ว เรายังต้องเสริมกำลังให้กับกล้ามเนื้อ 3 กลุ่มต่อไปนี้ด้วย
ถ้าเรารีบคลายท่าแบบทันทีทันใดร่างกายมันก็ปรับตัวไม่ทัน เส้นเอ็นกล้ามเนื้อมันจะดีดตัว เส้นพลิกบ้าง ช้ำบ้าง ฉีกบ้าง เจ็บข้อต่อบ้าง
การฝึกโยคะโดยการฝืนร่างกายมากเกินไปมักจะทำให้เรามี อาการบาดเจ็บ บางคนก็แสดงการบาดเจ็บแบบปัจจุบันทันด่วน แต่ในขณะที่บางคนจะค่อย ๆ เก็บสะสมอาการ
บันดะ ถ้าฝึกได้ถูกต้อง.. ชีวิตในการฝึกโยคะ.. ก็จะรุ่งโรจน์แต่ถ้าล็อคแบบผิด ๆ นี่….. ชีวิตมันจะ….. **รุ่งริ่ง** เอาง่าย ๆ
การฝึกที่เคยผ่อนคลายสบายกลายเป็นความตึงเครียด “สุขะ สถิระ อาสนัม” หัวใจหลักในการฝึกเริ่มกลายเป็นเพียงเรื่องเล่าในตำราน้อยคนนักที่จะใส่ใจปฏิบัติตาม
ครูนิน ครูโยคะที่บอกกับเราว่าไม่ได้เริ่มจากใจรัก แต่ในที่สุดแล้วก็ได้เดินอยู่บนเส้นทางโยคะมากว่า 20 ปี อะไรทำให้ครูนินเลือกเดินบนเส้นทางนี้
ไม่มีผิด ไม่มีถูก ในการฝึกทั้งสองมุมมอง เพียงแต่เราจะเอาอะไรจาก โยคะ มานำชีวิตเรากันก็เท่านั้นเอง จะฝึกทั้งสองแบบเลยก็ได้
การฝึกแบบ Mindfulness Yoga กำลังจะบอกว่า สิ่งที่เราทำบนผืนเสื่อโยคะในทุกวัน ในท่าซ้ำ ๆ นั้น
ไม่เคยเหมือนเดิม ไม่เคยเหมือนกันเลยสักนิด